|
|
|
ตำบลลำนารายณ์ แต่เดิมอยู่ในความปกครองของตำบลบัวชุมมาก่อน ต่อมาได้ขอแยกออกจากตำบลบัวชุม เพื่อมาตั้งเป็นตำบลลำนารายณ์ ก่อนปี พ.ศ. 2500 คนที่เป็นกำนันคนแรก คือ นายวิชัย เจริญศรี ปัจจุบันตำบลลำนารายณ์ มี 12 หมู่บ้าน แบ่งการปกครองเป็นสองลักษณะ คือ พื้นที่อยู่ในเขตปกครองขององค์การบริหารส่วนตำบลลำนารายณ์ จำนวน 6 หมู่บ้าน และเทศบาลตำบลลำนารายณ์ จำนวน 6 หมู่บ้าน ตำบลลำนารายณ์ ได้รับการยกฐานะจากสภาตำบลลำนารายณ์ จัดตั้งเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลลำนารายณ์ เมื่อวันที่ 23 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540 อดีตตั้งอยู่ที่ ศูนย์ฝึกอาชีพ หมู่ที่ 12 บ้านเขาหน้าตัด ตำบลลำนารายณ์ อำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี ปัจจุบันตั้งอยู่หมู่ที่ 2 บ้านเขายายกะตา ตำบลลำนารายณ์ อำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี อยู่ทางทิศตะวันตกของอำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี |
|
|
|
|
|
องค์การบริหารส่วนตำบลลำนารายณ์ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของ อำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี ห่างจากที่ว่าการอำเภอ ชัยบาดาล 7 กิโลเมตร และห่างจากจังหวัดลพบุรี ประมาณ 100 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 215 กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ 18 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 0.33 ของพื้นที่อำเภอ ชัยบาดาล หรือ 11,250 ไร่ |
|
|
|
|
|
ดวงตราประจำองค์การบริหารส่วนตำบลลำนารายณ์ เป็นรูปวงกลม นารายณ์สี่กรพระหัตถ์ขวาถือสังข์และจักร พระหัตถ์ซ้ายถือดอกบัวและคฑา |
|
|
|
   |
|
 |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
ทิศเหนือ |
ติดต่อกับ |
ต.บัวชุม อ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี |
 |
|
ทิศใต้ |
ติดต่อกับ |
ต.ชัยบาดาล แม่น้ำป่าสัก อ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี |
|
 |
ทิศตะวันออก |
ติดต่อกับ |
ต.ท่ามะนาว อ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี |
 |
|
ทิศตะวันตก |
ติดต่อกับ |
ต.ชัยนารายณ์ อ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี |
|
|
|
     |
|
  
 |
|
 |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ลักษณะภูมิอากาศเป็นแบบมรสุม มี 3 ฤดู ดังนี้ |

 |
ฤดูร้อน เริ่มประมาณ เดือนกุมภาพันธ์ ถึง
เดือนพฤษภาคม |

 |
ฤดูฝน เริ่มประมาณ เดือนมิถุนายน ถึง เดือนกันยายน |

 |
ฤดูหนาว เริ่มประมาณ เดือนตุลาคม ถึง เดือนมกราคม |
|
|
|
|
|
|
ประชากรในเขต องค์การบริหารส่วนตำบลลำนารายณ์ ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม โดยมีพื้นที่การเกษตรจำนวน 4,309 ไร่ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว ข้าวโพด ข้าวฟ่าง ถั่วเหลือง และมีการเลี้ยงโคเนื้อและโคนม ดังนี้ |

 |
อาชีพทำนา ร้อยละ 90 ของจำนวนประชากรทั้งหมด |

 |
อาชีพทำการประมง ร้อยละ 4 ของจำนวนประชากรทั้งหมด |

 |
อาชีพทำไร่ ร้อยละ 3 ของจำนวนประชากรทั้งหมด |

 |
อาชีพเลี้ยงสัตว์ ร้อยละ 3 ของจำนวนประชากรทั้งหมด |
|
|
|
  
 |
|
 |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
จำนวนประชากรทั้งหมด 2,197 คน แยกเป็น |

 |
ชาย จำนวน 1,054 คน |
คิดเป็นร้อยละ 47.97 |

 |
หญิง จำนวน 1,143 คน |
คิดเป็นร้อยละ 52.03 |
จำนวนครัวเรือนทั้งหมด 695 ครัวเรือน |
ความหนาแน่นเฉลี่ย 122.06 คน/ตารางกิโลเมตร |
|
|
|
|
|
 |
หมู่ที่ |
ชื่อหมู่บ้าน |
จำนวนประชากร |
ชาย |
หญิง |
รวม |
|
จำนวน
ครัวเรือน |
 |
|
2 |
|
บ้านเขายายกะตา |
258 |
271 |
529 |
160 |
|
 |
7 |
|
บ้านท่าศาลา |
141 |
136 |
277 |
86 |
 |
|
9 |
|
บ้านท่าน้ำ |
42 |
55 |
97 |
25 |
|
 |
10 |
|
บ้านรถไฟพัฒนา |
106 |
89 |
190 |
51 |
 |
|
11 |
|
บ้านคลองเขว้า |
262 |
310 |
572 |
205 |
|
 |
12 |
|
บ้านเขาหน้าตัด |
245 |
282 |
527 |
168 |
 |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
|
|
รวม |
1,054 |
1,143 |
2,197 |
695 |
 |
|
|
***ข้อมูลจากสำนักงานทะเบียนอำเภอชัยบาดาล 12 ตุลาคม 2559*** |
|
  
 |
|
 |
|
|
|
|
|
|
|